ประสิทธิผลการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสําหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการ ธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
ประสิทธิผลการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสําหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการ ธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อเรื่องอื่น
Effectiveness in Public Policy Implementation for Low Income Earners to the Credit of People Bank Project: A Case study of Government Savings Bank, Muang District, Phitsanulok Province
ผู้แต่ง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ปีที่เผยแพร่
2566
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
ประเภทของทรัพยากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชนิดของไฟล์ข้อมูล
ภาษา
หน่วยงานที่เผยแพร่
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้ครอบครองสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สิทธิ์ในการใช้งาน
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
กลุ่มข้อมูล
ชื่อเรื่อง
ประสิทธิผลการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสําหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการ ธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อเรื่องอื่น
Effectiveness in Public Policy Implementation for Low Income Earners to the Credit of People Bank Project: A Case study of Government Savings Bank, Muang District, Phitsanulok Province
ผู้แต่ง
ผู้แต่งร่วม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
หน่วยงานที่สังกัด
ระดับปริญญา
ชื่อปริญญา
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัยที่ประสาทปริญญา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เนื้อเรื่องย่อ/สาระสังเขป
การศึกษาวิจัยเรื่องมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน ดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกค้าที่สามารถใช้และยื่นสินเชื่อ จำนวน 264 คน จากสูตรของยามาเน่ เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.881 สถิติ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t-test และ F-test และการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 16 คน เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยรูปแบบข้อมูลเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน
2. การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก พบว่า ลูกค้าที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ไม่แตกต่างกัน
3. แนวทางการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน พบว่า ควรดำเนินการ คือ 1) การประเมินโครงการก่อนดำเนินการที่ผ่านมาให้เห็นถึงปัญหา อุปสรรค 2) การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ เพื่อเป็นการทบทวนแผนของโครงการ 3) การประเมินโครงการหรือการประเมินประสิทธิภาพ การประเมินที่ให้เห็นถึงผลสำเร็จของการดำเนินโครงการในเชิงของประสิทธิภาพ และ 4) การพัฒนาปรับปรุงการดำเนินโครงการ เพื่อนำผลการดำเนินงานที่ผ่านมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานต่อไป
รายละเอียด
หัวเรื่อง
การอ้างอิง
ผู้ให้ทุน
การอ้างอิง
ชิดชนก ชัยวัฒน์ตระกูล. (2566). ประสิทธิผลการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสําหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านสินเชื่อโครงการ ธนาคารประชาชน กรณีศึกษาธนาคารออมสิน อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก [วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]. https://psruir.psru.ac.th/handle/123456789/439