แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่องอื่น
The Guidelines for Implementing the Participatory Green University Policies of Rajabhat University Group in the Lower Northern Region
ผู้แต่ง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ปีที่เผยแพร่
2567
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
ประเภทของทรัพยากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชนิดของไฟล์ข้อมูล
ภาษา
หน่วยงานที่เผยแพร่
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้ครอบครองสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สิทธิ์ในการใช้งาน
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
กลุ่มข้อมูล
ชื่อเรื่อง
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่องอื่น
The Guidelines for Implementing the Participatory Green University Policies of Rajabhat University Group in the Lower Northern Region
ผู้แต่ง
ผู้แต่งร่วม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
หน่วยงานที่สังกัด
ระดับปริญญา
ชื่อปริญญา
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัยที่ประสาทปริญญา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เนื้อเรื่องย่อ/สาระสังเขป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง วิธีการศึกษาเป็นวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง 395 คน ใช้การคำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยสูตร Taro Yamane เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหูคูณเชิงเส้นตรง (Multiple linear regression analysis) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 20 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการวิจัยพบว่า
1) ระดับการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่างภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.98) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง อยู่ในระดับมากทั้ง 6 ด้าน 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง (y) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีจำนวน 4 ตัวแปร เรียงลำดับผลต่อการผันแปรจากมากที่สุดไปหาน้อย คือ ด้านการบริหารจัดการ (X₈ Beta = .320) ด้านเงินหรืองบประมาณ (X₆ Beta = .265) ด้านคนหรือบุคคล (X₅ Beta = .118) และด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ (X₂ Beta = .084) และ 3) แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยภาคเหนือตอนล่าง พบว่า ควรมุ่งพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความพร้อมตอบสนองต่อนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยเฉพาะส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายในทุกขั้นตอนมากขึ้น และปรับพฤติกรรมส่วนบุคคลของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ทั้งการปรับทัศคติ และจิตสำนึกให้มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมมากยิ่งขึ้
รายละเอียด
หัวเรื่อง
การอ้างอิง
ผู้ให้ทุน
การอ้างอิง
พนาวัน เปรมศรี. (2567). แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียวแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]. https://psruir.psru.ac.th/handle/123456789/387