การปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
การปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อเรื่องอื่น
Transforming Public Sector Organizations into the Digital 4.0 Era: A Case Study of the Government Organization in Phitsanulok Province
ผู้แต่ง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ปีที่เผยแพร่
2567
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
ประเภทของทรัพยากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชนิดของไฟล์ข้อมูล
ภาษา
หน่วยงานที่เผยแพร่
ผู้ครอบครองสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สิทธิ์ในการใช้งาน
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
กลุ่มข้อมูล
ชื่อเรื่อง
การปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อเรื่องอื่น
Transforming Public Sector Organizations into the Digital 4.0 Era: A Case Study of the Government Organization in Phitsanulok Province
ผู้แต่ง
ผู้แต่งร่วม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
หน่วยงานที่สังกัด
ระดับปริญญา
ชื่อปริญญา
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัยที่ประสาทปริญญา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เนื้อเรื่องย่อ/สาระสังเขป
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0: กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก โดยกลุ่มตัวอย่างในการใช้แบบสอบถาม คือ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 290 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ บุคลากรระดับสูงในองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า
1. สภาพการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 เกี่ยวกับความพร้อมของบุคลากร ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านแรงจูงใจ (x̄= 4.60) ด้านความรับผิดชอบในงาน (x̄= 4.58) ด้านทัศนคติ (x̄= 4.55) ด้านทักษะ (x̄= 4.51) ด้านความรู้ (x̄= 4.43) และองค์ประกอบของการเป็นองค์การ Digital 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านวิสัยทัศน์ของผู้นำองค์กร (x̄= 4.65) ด้านการหาพันธมิตรเข้ามาช่วย (x̄= 4.64) ด้านการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่มาปรับใช้ (x̄= 4.60) ด้านการมีจุดแข็งเป็นของตัวเอง (x̄= 4.57)
2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ และตำแหน่งงาน ต่างกันมีผลทำให้ความพร้อมของบุคลากรและความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของการเป็นองค์การ Digital 4.0 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3. แนวทางการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 พบว่า มีการกำหนดนโยบายการปรับเปลี่ยนองค์การ ทั้งด้านการพัฒนาระบบงานและการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงมีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบงาน เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานภายในองค์กรสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร
รายละเอียด
การอ้างอิง
ผู้ให้ทุน
การอ้างอิง
ศริลินทิพย์ สระสิทธิ์. (2567). การปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก [วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, Unknown Publisher]. https://psruir.psru.ac.th/handle/123456789/408