นโยบายภาครัฐในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

ไม่มีรูปตัวอย่าง

ชื่อเรื่อง

นโยบายภาครัฐในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

ชื่อเรื่องอื่น

Government Policies on Sustainable Community-based Tourism Management in the Area of Chiang Khan District, Loei Province

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ไม่มีรูปตัวอย่าง

ปีที่เผยแพร่

2566

Journal Title

Journal ISSN

Volume Title

ประเภทของทรัพยากร

วิทยานิพนธ์/Thesis

ชนิดของไฟล์ข้อมูล

ภาษา

หน่วยงานที่เผยแพร่

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ผู้ครอบครองสิทธิ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

สิทธิ์ในการใช้งาน

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

กลุ่มข้อมูล

ชื่อเรื่อง

นโยบายภาครัฐในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

ชื่อเรื่องอื่น

Government Policies on Sustainable Community-based Tourism Management in the Area of Chiang Khan District, Loei Province

ผู้แต่งร่วม

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ระดับปริญญา

มหาวิทยาลัยที่ประสาทปริญญา

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

เนื้อเรื่องย่อ/สาระสังเขป

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของประชาชนต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและ 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่เดินทางมาท่องเที่ยวในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จำนวน 410 คน และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ ปราชญ์ชาวบ้านในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จำนวน 20 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมของประชาชนต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนส่วนใหญ่เข้ามาท่องเที่ยวกับครอบครัว/ญาติ คิดเป็นร้อยละ 48.78 และเข้ามาท่องเที่ยวช่วงเดือน ตุลาคม–ธันวาคม คิดเป็นร้อยละ 56.09 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้านการดึงดูดการท่องเที่ยว โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการข้อมูลเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการสร้างการรับรู้คุณค่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านศักยภาพของบุคลากรชุมชนโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ได้แก่ เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมโดยชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนให้โดดเด่น ได้มาตรฐาน และเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อดิจิทัลให้มีความทันสมัย

รายละเอียด

การอ้างอิง

ผู้ให้ทุน

การอ้างอิง

พศิน พาณิชย์. (2566). นโยบายภาครัฐในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]. https://psruir.psru.ac.th/handle/123456789/421

Endorsement

Review

Supplemented By

Referenced By