การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
ชื่อเรื่องอื่น
The Development of Additional Course of Padoongrasdra Suksa on Social Studies Religion and Culture Strand for 4th Grade Students
ผู้แต่ง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ไม่มีรูปตัวอย่าง
ปีที่เผยแพร่
2565
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
ประเภทของทรัพยากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชนิดของไฟล์ข้อมูล
ภาษา
หน่วยงานที่เผยแพร่
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้ครอบครองสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สิทธิ์ในการใช้งาน
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
กลุ่มข้อมูล
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
ชื่อเรื่องอื่น
The Development of Additional Course of Padoongrasdra Suksa on Social Studies Religion and Culture Strand for 4th Grade Students
ผู้แต่ง
ผู้แต่งร่วม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
หน่วยงานที่สังกัด
ระดับปริญญา
ชื่อปริญญา
สาขาวิชา
มหาวิทยาลัยที่ประสาทปริญญา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เนื้อเรื่องย่อ/สาระสังเขป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้หลักสูตรโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนโดยใช้ หลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษากับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนผดุงราษฎร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน ใช้เวลาในการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งสิ้น 20 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบสมมติฐาน คือ One Sample t – test ผลการวิจัยพบว่า
1. หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม ผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีองค์ประกอบของหลักสูตร คือ หลักการ จุดมุ่งหมาย คำอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยโรงเรียนผดุงราษฎร์ หน่วยพระเยซูคริสต์ หน่วยวิถีผดุงราษฎร์ หน่วยม่วงเหลือง ร่วมใจ และหน่วยมารยาทงาม สมนามผดุงราษฎร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตร สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก คู่มือการใช้หลักสูตรอยู่ในระดับดี แผนการจัดการเรียนรู้มีคุณภาพอยู่ในระดับดี
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
รายละเอียด
หัวเรื่อง
การอ้างอิง
ผู้ให้ทุน
การอ้างอิง
พรทิพา สิทธิวงค์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]. https://psruir.psru.ac.th/handle/123456789/475