• ไทย
  • English
Log In
คลิกลงทะเบียนลืมรหัสผ่าน
โลโก้คลังสารสนเทศ
หน้าแรก
เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • นโยบายการพัฒนา
  • โครงสร้างองค์กรและบุคลากร
  • ผู้เชี่ยวชาญ
  • เป้าหมาย
  • การเข้าถึงและการใช้งาน
  • การนำไปใช้และการเผยแพร่
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • การติดต่อ
การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • ข้อตกลงในการอนุญาตให้จัดทำและเผยแพร่
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดอ่อน
  • แผนการบำรุงรักษาไฟล์ดิจิทัล
  • มาตรฐานรูปแบบไฟล์
  • เกี่ยวกับเมทาดาทา
  • แผนสืบทอดคลังสารสนเทศ
  • มาตรการและแนวทางดำเนินงานเมื่อมีการใช้ทรัพยากรผิดเงื่อนไข
  • แผนการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล
  • กระบวนการทำงาน
  • คู่มือการสืบค้น
  • คู่มือการบันทึกผลงาน
  • ร้องเรียนและขอถอนทรัพยากรสารสนเทศ
การรับรองมาตรฐาน
  • แบบประเมินตนเอง
  • รายงานการประเมินตนเอง
การเยี่ยมชมบันทึกผลงาน
  1. หน้าแรก
  2. ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง

เรียกดูข้อมูลตาม ชื่อผู้แต่ง "ศริลินทิพย์ สระสิทธิ์"

กรองผลลัพธ์โดยการพิมพ์ตัวอักษรสองสามตัวแรก
กำลังแสดง1 - 1 of 1
  • Results Per Page
  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ
  • ไม่มีรูปตัวอย่าง
    รายการเมทาเดทาเท่านั้น
    การปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก
    (2567) ศริลินทิพย์ สระสิทธิ์; ธนัสถา โรจนตระกูล; กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์
    การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0: กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก โดยกลุ่มตัวอย่างในการใช้แบบสอบถาม คือ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 290 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ บุคลากรระดับสูงในองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 เกี่ยวกับความพร้อมของบุคลากร ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านแรงจูงใจ (x̄= 4.60) ด้านความรับผิดชอบในงาน (x̄= 4.58) ด้านทัศนคติ (x̄= 4.55) ด้านทักษะ (x̄= 4.51) ด้านความรู้ (x̄= 4.43) และองค์ประกอบของการเป็นองค์การ Digital 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านวิสัยทัศน์ของผู้นำองค์กร (x̄= 4.65) ด้านการหาพันธมิตรเข้ามาช่วย (x̄= 4.64) ด้านการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่มาปรับใช้ (x̄= 4.60) ด้านการมีจุดแข็งเป็นของตัวเอง (x̄= 4.57) 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ และตำแหน่งงาน ต่างกันมีผลทำให้ความพร้อมของบุคลากรและความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของการเป็นองค์การ Digital 4.0 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. แนวทางการปรับเปลี่ยนองค์การภาครัฐสู่ยุค Digital 4.0 พบว่า มีการกำหนดนโยบายการปรับเปลี่ยนองค์การ ทั้งด้านการพัฒนาระบบงานและการพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงมีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบงาน เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานภายในองค์กรสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

156 ม.5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์: 0-5526-7224-5

เว็บไซต์: library.psru.ac.th

E-mail: lib_pibul@live.psru.ac.th

LiveChat

Pibulsongkram Logo

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Follow Us
Pibulsongkram Logo

                       

©2025 คลังสารสนเทศดิจิทัลพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงสำหรับผู้ใช้
  • ข้อเสนอแนะ