• ไทย
  • English
Log In
คลิกลงทะเบียนลืมรหัสผ่าน
โลโก้คลังสารสนเทศ
หน้าแรก
เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • นโยบายการพัฒนา
  • โครงสร้างองค์กรและบุคลากร
  • ผู้เชี่ยวชาญ
  • เป้าหมาย
  • การเข้าถึงและการใช้งาน
  • การนำไปใช้และการเผยแพร่
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • การติดต่อ
การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • ข้อตกลงในการอนุญาตให้จัดทำและเผยแพร่
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดอ่อน
  • แผนการบำรุงรักษาไฟล์ดิจิทัล
  • มาตรฐานรูปแบบไฟล์
  • เกี่ยวกับเมทาดาทา
  • แผนสืบทอดคลังสารสนเทศ
  • มาตรการและแนวทางดำเนินงานเมื่อมีการใช้ทรัพยากรผิดเงื่อนไข
  • แผนการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล
  • กระบวนการทำงาน
  • คู่มือการสืบค้น
  • คู่มือการบันทึกผลงาน
  • ร้องเรียนและขอถอนทรัพยากรสารสนเทศ
การรับรองมาตรฐาน
  • แบบประเมินตนเอง
  • รายงานการประเมินตนเอง
การเยี่ยมชมบันทึกผลงาน
  1. หน้าแรก
  2. ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง

เรียกดูข้อมูลตาม ชื่อผู้แต่ง "พรทิพา สิทธิวงค์"

กรองผลลัพธ์โดยการพิมพ์ตัวอักษรสองสามตัวแรก
กำลังแสดง1 - 1 of 1
  • Results Per Page
  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ
  • ไม่มีรูปตัวอย่าง
    รายการเมทาเดทาเท่านั้น
    การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
    (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2565) พรทิพา สิทธิวงค์; อารีย์ ปริติกุล
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้หลักสูตรโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนโดยใช้ หลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษากับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนผดุงราษฎร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมผดุงราษฎร์ศึกษา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน ใช้เวลาในการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งสิ้น 20 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบสมมติฐาน คือ One Sample t – test ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม ผดุงราษฎร์ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีองค์ประกอบของหลักสูตร คือ หลักการ จุดมุ่งหมาย คำอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยโรงเรียนผดุงราษฎร์ หน่วยพระเยซูคริสต์ หน่วยวิถีผดุงราษฎร์ หน่วยม่วงเหลือง ร่วมใจ และหน่วยมารยาทงาม สมนามผดุงราษฎร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ของหลักสูตร สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก คู่มือการใช้หลักสูตรอยู่ในระดับดี แผนการจัดการเรียนรู้มีคุณภาพอยู่ในระดับดี 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรผดุงราษฎร์ศึกษา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

156 ม.5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์: 0-5526-7224-5

เว็บไซต์: library.psru.ac.th

E-mail: lib_pibul@live.psru.ac.th

LiveChat

Pibulsongkram Logo

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Follow Us
Pibulsongkram Logo

                       

©2025 คลังสารสนเทศดิจิทัลพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงสำหรับผู้ใช้
  • ข้อเสนอแนะ