Browsing by ชื่อเรื่อง
กำลังแสดง1 - 20 of 44
- Results Per Page
- Sort Options
Item การเข้าถึงแบบเปิด กระบวนการเรียนรู้ทักษะวิชาคีตปฏิญาณของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) กมลธรรม เกื้อบุตรItem การเข้าถึงแบบเปิด การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพครูด้านทักษะการดำรงชีวิต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 3(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2552) ศิริสุภา เอมหยวก; ลำยอง สำเร็จดี; เจน คันทะItem การเข้าถึงแบบเปิด การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Project Based Learning ผ่านสังคมออนไลน์รายวิชาสารสนเทศทางสุขภาพสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) จิตศิริน ลายลักษณ์; กิ่งแก้ว สำรวยรื่น; บัญชา สำรวยรื่นItem การเข้าถึงแบบเปิด การปลดปล่อยและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสจากนาโนอาร์บูตินครีม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) วิษณุ ธงไชย; พิชัย พูลประเสริฐ; เฉลิมพร ทองพูน; ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย; ศิริรัตน์ พันธ์เรืองItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาคลังสารสนเทศดิจิทัลสำหรับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยโอเพนซอร์ซดรูปัล(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2561) คม กันชูลีงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบคลังสารสนเทศดิจิทัลสำหรับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยโอเพนซอร์ซดรูปัล 2) ประเมินประสิทธิภาพคลังสารสนเทศงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยโอเพนซอร์ซดรูปัล 3) ประเมินความพึงพอใจต่อคลังสารสนเทศงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยโอเพนซอร์ซดรูปัล โดยระบบคลังสารสนเทศดิจิทัลมีความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่จัดทาโดยอาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจานวน 390 คน ได้มาจากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จานวน 15,718 คน เครื่องมือสำหรับการวิจัย ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบคลังสารสนเทศดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม Drupal ในการพัฒนาระบบ โปรแกรมภาษา PHP สาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ และโปรแกรม MySQL สาหรับจัดการฐานข้อมูลระบบ 2) แบบประเมินประสิทธิภาพและแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ระบบคลังสารสนเทศดิจิทัล เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการพัฒนาระบบคลังสารสนเทศดิจิทัลสาหรับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยโอเพนซอร์ซดรูปัล ได้รับการประเมินประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ สาขาบรรณารักษ์ ผู้วิจัย นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โดยประสิทธิภาพของคลังสารสนเทศดิจิทัลสาหรับงานวิจัย ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการใช้งานและด้านการออกแบบ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 และ 4.59 ตามลาดับ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ระบบคลังสารสนเทศดิจิทัลสาหรับงานวิจัย พบว่า ภาพรวมของผู้ใช้งานระบบคลังสารสนเทศดิจิทัลสาหรับงานวิจัย มีระดับความพึงพอใจมาก ร้อยละ 85.8 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.69 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ผู้ใช้บริการพึงพอใจการใช้ประโยชน์จากคลังสารสนเทศ มีระดับความพึงพอใจมาก ร้อยละ 88.6 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67Item การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาความรู้ด้านการตลาด ของกลุ่มอาชีพทอผ้า บ้านม่วงหอม หมู่ที่ 5 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2548) ละออ ทรงกฤษณ์; สมคิด ศรีสิงห์; อำนวยพร สุนทรสมัย; เทอดศักดิ์ จันทร์อรุณItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโภชนศาสตร์มนุษย์ด้วยกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2558) ทรงพรรณ สังข์ทรัพย์Item การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) ในรายวิชาการผลิตสุกร (Swine Production) ของนักศึกษาสาขาวิชาสัตวศาสตร์ ระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) ปุณเรศวร์ รัตนประดิษฐ์Item การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวตังเสริมแคลเซียมจากกระดูกปลาสลาด(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2558) ผกาวดี เอี่ยมกำแพง; โสรัจ วรชุม อินเกตItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบูลสงคราม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2562) อัจฉราพร แย้มเหม็นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลการเข้าใช้บริการของห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2) พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเข้าใช้บริการของห้องสมุดคณะ และประเมินความเหมาะสม 3)ประเมินความพึงพอใจผู้ใช้ระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการคณะกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) กลุ่มความต้องการสารสนเทศสถิติการใช้บริการห้องสมุดคณะ ประกอบด้วยผู้บริหาร บรรณารักษ์ ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องห้องสมุด จานวน 10 คน และ2) กลุ่มความพึงพอใจของระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุดคณะ จานวน 60 คน (ช่วงเวลาที่เก็บรวบรวมข้อมูล 15 ตุลาคม – 27 ธันวาคม พ.ศ. 2562) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสม เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการสารสนเทศการเข้ามาใช้บริการห้องสมุดคณะที่จาเป็นประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการห้องสมุดนั้น มีความต้องการในภาพรวมอยู่ในระดับมาก(ค่าเฉลี่ย = 4.21) เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า (1) ด้านประสิทธิภาพและความถูกต้องของระบบ อยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย = 4.32) (2) ด้านการออกแบบของระบบมีความต้องการ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.16) (3) ด้านการรับรู้ความง่ายและประโยชน์การใช้งานระบบมีความต้องการอยู่ในระดับมาก(ค่าเฉลี่ย = 4.16) ตามลาดับ 2) ความเหมาะสมของระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ฯ พบว่า ความเหมาะสมของระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ค่าเฉลี่ย= 4.50) และ3) ความพึงพอใจผู้ใช้ระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุด พบว่า ความพึงพอใจในการใช้ระบบภาพรวมมีอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย= 4.27)Item การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานที่บูรณาการกับการพัฒนาสังคมเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในรายวิชา GEHU 103 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2560) ภาวิดา มหาวงศ์Item การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาวีดิทัศน์การใช้เครื่องวัดปริมาณน้ำอิสระสำหรับนักศึกษา สาขาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2561) ศรัณญา สอนมณีItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างทักษะชีวิตการป้องกันยาเสพติด สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2552) ชูชาติ รอดถาวร; ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์; รัชนีภรณ์ ภู่กรItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาเนื้อดินเคลือบเซรามิคและรูปแบบผลิตภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์จอกยางพาราของกลุ่มผลิตเครื่องปั้นดินเผาบ้านวังดินสอ ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) นิวัตร พัฒนะItem การเข้าถึงแบบเปิด การพัฒนาโลชันบำรุงผิวขาวเสริมสารต้านอนุมูลอิสระสูตรนาโนอิมัลชันจากสารสกัดเปลือกหุ้มเมล็ดมะขาม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) เกตุการ ดาจันทา; เปรมนภา สีโสภาItem การเข้าถึงแบบเปิด การวิจัยและพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาและฝึกอบรมครู เรื่องการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2547) วิราพร พงศ์อาจารย์Item การเข้าถึงแบบเปิด การวิเคราะห์การจัดการโครงการคัดแยกขยะ (Waste Hero) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ประจำปี 2559(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) อัญชลี เล็กประดิษฐ์; นิตยา ปิ่นแก้ว; กิ่งกาญจน์ พรมมาพงษ์; ปัทมาพร เงินแจ้งItem การเข้าถึงแบบเปิด การวิเคราะห์ประมาณการรายรับ-รายจ่ายของงบประมาณเงินรายได้ ด้านการจัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2562) ชัชฎาพันธ์ อยู่เพชรการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการประมาณการรายรับและรายจ่ายของงบประมาณเงินรายได้ด้านการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แหล่งข้อมูล คือ รายรับและรายจ่ายที่จำเป็นของมหาวิทยาลัย สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (Microsoft Excel) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า การประมาณการรายรับน้อยกว่าการประมาณการรายจ่าย ร้อยละ 15.50 มีจำนวนประมาณ 33,524,300 บาท โดยมีการประมาณการรายรับจาก 4 แหล่ง ได้แก่ 1)นักศึกษาภาคปกติ 2) นักศึกษาภาค กศ.ป.ป. 3) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ 4) นักเรียนของโรงเรียนสาธิตฯ และการประมาณการรายจ่ายที่จำเป็นมาจาก 6 รายจ่าย ได้แก่ 1) รายจ่ายเกี่ยวกับบุคลากร 2) รายจ่ายประจำขั้นต่ำ 3) รายจ่ายภารกิจของหน่วยงานส่วนกลาง 4)รายจ่ายนโยบายเร่งด่วนของมหาวิทยาลัย 5) รายจ่ายสมทบก่อสร้าง และ 6) งบกลาง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ประมาณการรายรับ พบว่า มีจำนวนทั้งสิ้น 216,244,900 บาท โดยมีคณะ/หน่วยงานที่มีการประมาณการรายรับมากที่สุด คือ คณะวิทยาการจัดการ รองลงมาคือ วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร บัณฑิตวิทยาลัย และโรงเรียนสาธิตฯ ตามลำดับ 2.ประมาณการรายจ่าย พบว่า มีจำนวนทั้งสิ้น 235,857,900 บาท โดยมีคณะ/หน่วยงานที่มีการประมาณการรายจ่ายมากที่สุด คือ สำนักงานอธิการบดี รองลงมาคือ กองกลาง สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ กองพัฒนานักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่นสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โครงการจัดตั้งกองส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางด้านกีฬา กองบริการการศึกษา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม กองนโยบายและแผน โครงการจัดตั้งกองมาตรฐานวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการจัดตั้งกองคลัง กองบริหารงานบุคคล โครงการจัดตั้งสถาบันนานาชาติ และโครงการจัดตั้งสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ตามลำดับItem การเข้าถึงแบบเปิด การวิเคราะห์เควอซิทินด้วยตัวตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าในผัก ผลไม้ และสมุนไพรไทย(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2559) อัญชนา ปรีชาวรพันธ์Item การเข้าถึงแบบเปิด การวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ 2559(มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2561) สินี ยิ้มน่วม
- «
- 1 (current)
- 2
- 3
- »