• ไทย
  • English
Log In
คลิกลงทะเบียนลืมรหัสผ่าน
โลโก้คลังสารสนเทศ
หน้าแรก
เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • นโยบายการพัฒนา
  • โครงสร้างองค์กรและบุคลากร
  • ผู้เชี่ยวชาญ
  • เป้าหมาย
  • การเข้าถึงและการใช้งาน
  • การนำไปใช้และการเผยแพร่
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • การติดต่อ
การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • ข้อตกลงในการอนุญาตให้จัดทำและเผยแพร่
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดอ่อน
  • แผนการบำรุงรักษาไฟล์ดิจิทัล
  • มาตรฐานรูปแบบไฟล์
  • เกี่ยวกับเมทาดาทา
  • แผนสืบทอดคลังสารสนเทศ
  • มาตรการและแนวทางดำเนินงานเมื่อมีการใช้ทรัพยากรผิดเงื่อนไข
  • แผนการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล
  • กระบวนการทำงาน
  • คู่มือการสืบค้น
  • คู่มือการบันทึกผลงาน
  • ร้องเรียนและขอถอนทรัพยากรสารสนเทศ
การรับรองมาตรฐาน
  • แบบประเมินตนเอง
  • รายงานการประเมินตนเอง
การเยี่ยมชมบันทึกผลงาน
  1. หน้าแรก
  2. ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง

เรียกดูข้อมูลตาม ชื่อผู้แต่ง "อัชรี กุลบุตร"

กรองผลลัพธ์โดยการพิมพ์ตัวอักษรสองสามตัวแรก
กำลังแสดง1 - 1 of 1
  • Results Per Page
  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ
  • ไม่มีรูปตัวอย่าง
    รายการเมทาเดทาเท่านั้น
    รูปแบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก อย่างยั่งยืนของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง
    (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2566) อัชรี กุลบุตร; ภาสกร ดอกจันทร์; กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และแนวทางการจัดการทุนทางวัฒนธรรม พร้อมทั้งนำเสนอรูปแบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืนของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำในจำนวน 5 แห่ง/จังหวัด ตีความข้อมูลจากเอกสารกับการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม และนำข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาวิเคราะห์เนื้อหา การตรวจสอบแบบสามเส้า จากกลุ่มตัวอย่างการสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรมชุมชน ด้านการบริหาร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เน้นเรื่องทุนทางวัฒนธรรมส่งผลอย่างไรในการพัฒนาและมีกระบวนการอย่างไรที่จะเสริมสร้างเศรษฐกิจในกับชุมชน สัมภาษณ์เชิงลึกในประเด็นที่สำคัญ ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง มีข้อมูล Input คือ ชุมชนควรมีการน้อมนำหลักทรงงานของในหลวง รัชกาลที่ 9 หลัก “รู้ รัก สามัคคี” และนำทุนทางวัฒนธรรมที่สัมผัสได้ ได้แก่ วิถีชีวิตด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งปลูกสร้าง ด้านการแต่งกาย ด้านอาหาร ด้านเครื่องมือเครื่องใช้ และทุนทางวัฒนธรรมที่สัมผัสไม่ได้ ได้แก่ วิถีชีวิตด้านภาษา ด้านพิธีกรรม ความเชื่อ ด้านศิลปะการแสดง และด้านวัฒนธรรมประเพณี โดยมีการจัดการ Process คือ การอนุรักษ์ทุนทางวัฒนธรรม การสืบสานทุนทางวัฒนธรรม การพัฒนาและต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมเพื่อเสริมเศรษฐกิจฐานราก และการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน และมีกระบวนการดำเนินงานตามแบบ “Thai Song Dam” Output คือ ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการอนุรักษ์ สืบสานวิถีวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ไทยทรงดำ มีฐานเศรษฐกิจและทุนชุมชนที่เข้มแข็ง และแบรนด์ Brand Image ไทยทรงดำ

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

156 ม.5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์: 0-5526-7224-5

เว็บไซต์: library.psru.ac.th

E-mail: lib_pibul@live.psru.ac.th

LiveChat

Pibulsongkram Logo

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Follow Us
Pibulsongkram Logo

                       

©2025 คลังสารสนเทศดิจิทัลพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงสำหรับผู้ใช้
  • ข้อเสนอแนะ