• ไทย
  • English
Log In
คลิกลงทะเบียนลืมรหัสผ่าน
โลโก้คลังสารสนเทศ
หน้าแรก
เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • นโยบายการพัฒนา
  • โครงสร้างองค์กรและบุคลากร
  • ผู้เชี่ยวชาญ
  • เป้าหมาย
  • การเข้าถึงและการใช้งาน
  • การนำไปใช้และการเผยแพร่
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • การติดต่อ
การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • ข้อตกลงในการอนุญาตให้จัดทำและเผยแพร่
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดอ่อน
  • แผนการบำรุงรักษาไฟล์ดิจิทัล
  • มาตรฐานรูปแบบไฟล์
  • เกี่ยวกับเมทาดาทา
  • แผนสืบทอดคลังสารสนเทศ
  • มาตรการและแนวทางดำเนินงานเมื่อมีการใช้ทรัพยากรผิดเงื่อนไข
  • แผนการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล
  • กระบวนการทำงาน
  • คู่มือการสืบค้น
  • คู่มือการบันทึกผลงาน
  • ร้องเรียนและขอถอนทรัพยากรสารสนเทศ
การรับรองมาตรฐาน
  • แบบประเมินตนเอง
  • รายงานการประเมินตนเอง
การเยี่ยมชมบันทึกผลงาน
  1. หน้าแรก
  2. ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง

เรียกดูข้อมูลตาม ชื่อผู้แต่ง "วัชรพล อรุณรัตน์"

กรองผลลัพธ์โดยการพิมพ์ตัวอักษรสองสามตัวแรก
กำลังแสดง1 - 1 of 1
  • Results Per Page
  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ
  • ไม่มีรูปตัวอย่าง
    รายการเมทาเดทาเท่านั้น
    ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่
    (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2566) วัชรพล อรุณรัตน์; ธนัสถา โรจนตระกูล; ภาสกร ดอกจันทร์
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่ 3. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูล จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามมีลักษณะแบบเลือกตอบอย่างใดอย่างหนึ่งจาก 2 คำตอบ และประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (%), ค่าเฉลี่ย (x̄), ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.), t - test และF - test ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่ โดยรวมอยู่ในระดับนาน ๆ ครั้ง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการป้องกันตนเองของประชาชน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และรองลงมา คือ ด้านการดำเนินการในกรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน และด้านการป้องกันสำหรับสถานที่ทำงาน หรือสถานประกอบการ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพ รายได้ ระดบการศึกษา และสถานภาพสมรส มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศและอายุ ไม่มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. แนวทางในการปรับปรุงพฤติกรรมตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตจังหวัดแพร่ สรุปได้ว่า ควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ในการรักษาระยะห่าง การสวมีหน้ากากอนามัย การล้างมือเพื่อขจัดสิ่งสกปรกต่าง ๆและเข้ารับการตรวจหาเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 กรณีที่เดินทางไปสถานที่มีความเสี่ยงรวมทั้งเพิ่มการประชาสมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีทัศนคติที่ตระหนักและทราบถึงสาเหตุ ความรุนแรง และวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

156 ม.5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์: 0-5526-7224-5

เว็บไซต์: library.psru.ac.th

E-mail: lib_pibul@live.psru.ac.th

LiveChat

Pibulsongkram Logo

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Follow Us
Pibulsongkram Logo

                       

©2025 คลังสารสนเทศดิจิทัลพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงสำหรับผู้ใช้
  • ข้อเสนอแนะ