• ไทย
  • English
Log In
คลิกลงทะเบียนลืมรหัสผ่าน
โลโก้คลังสารสนเทศ
หน้าแรก
เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • เกี่ยวกับคลังสารสนเทศดิจิทัล
  • วิสัยทัศน์
  • พันธกิจ
  • นโยบายการพัฒนา
  • โครงสร้างองค์กรและบุคลากร
  • ผู้เชี่ยวชาญ
  • เป้าหมาย
  • การเข้าถึงและการใช้งาน
  • การนำไปใช้และการเผยแพร่
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • การติดต่อ
การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การนำฝากและการนำเข้าข้อมูล
  • การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา
  • ข้อตกลงในการอนุญาตให้จัดทำและเผยแพร่
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดอ่อน
  • แผนการบำรุงรักษาไฟล์ดิจิทัล
  • มาตรฐานรูปแบบไฟล์
  • เกี่ยวกับเมทาดาทา
  • แผนสืบทอดคลังสารสนเทศ
  • มาตรการและแนวทางดำเนินงานเมื่อมีการใช้ทรัพยากรผิดเงื่อนไข
  • แผนการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล
  • กระบวนการทำงาน
  • คู่มือการสืบค้น
  • คู่มือการบันทึกผลงาน
  • ร้องเรียนและขอถอนทรัพยากรสารสนเทศ
การรับรองมาตรฐาน
  • แบบประเมินตนเอง
  • รายงานการประเมินตนเอง
การเยี่ยมชมบันทึกผลงาน
  1. หน้าแรก
  2. ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง

เรียกดูข้อมูลตาม ชื่อผู้แต่ง "พศิน พาณิชย์"

กรองผลลัพธ์โดยการพิมพ์ตัวอักษรสองสามตัวแรก
กำลังแสดง1 - 1 of 1
  • Results Per Page
  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ
  • ไม่มีรูปตัวอย่าง
    รายการเมทาเดทาเท่านั้น
    นโยบายภาครัฐในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
    (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2566) พศิน พาณิชย์; ภาสกร ดอกจันทร์; กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของประชาชนต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและ 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่เดินทางมาท่องเที่ยวในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จำนวน 410 คน และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ ปราชญ์ชาวบ้านในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จำนวน 20 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมของประชาชนต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนส่วนใหญ่เข้ามาท่องเที่ยวกับครอบครัว/ญาติ คิดเป็นร้อยละ 48.78 และเข้ามาท่องเที่ยวช่วงเดือน ตุลาคม–ธันวาคม คิดเป็นร้อยละ 56.09 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้านการดึงดูดการท่องเที่ยว โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการข้อมูลเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการสร้างการรับรู้คุณค่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านศักยภาพของบุคลากรชุมชนโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ได้แก่ เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมโดยชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนให้โดดเด่น ได้มาตรฐาน และเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อดิจิทัลให้มีความทันสมัย

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

156 ม.5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์: 0-5526-7224-5

เว็บไซต์: library.psru.ac.th

E-mail: lib_pibul@live.psru.ac.th

LiveChat

Pibulsongkram Logo

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Follow Us
Pibulsongkram Logo

                       

©2025 คลังสารสนเทศดิจิทัลพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงสำหรับผู้ใช้
  • ข้อเสนอแนะ